วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
วันอังคารที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
ผังงาน
หมายถึง การแก้ไขปัญหาตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึงจุดสิ้นสุด เป็นอัลกอริทึมที่สื่อความหมายกับมนุษย์ เป็นลำดับกิจกรรมแบบรูปธรรม ง่ายต่อการเข้าใจ เป็นรูปแบบความคิด
ตัวอย่าง
เป็นอัลกอริทึมกิจกรรมจะเรียงตามลำดับการทำงานก่อนหลัง โดยยึด บนลงลาล่าง หรือจากซ้ายไปขวา หรือถ้าเป็นลูกศรก็คือตามเส้นลูกศรตามทิศทางของลูกศร
จะมีทางออกเป็นทางเดียว อีกทางหนึ่งจะไม่มีกิจกรรม การทำงานจะออกจากโครงสร้างโดยตรงและผลตรวจสอบทางนี้
จะมีทางออกเป็นทางออกทั้งสองทาง คือ ทั้งทางจริงและเท็จ การทำงานก็จะต้องกระทำกิจกรรมทางใดทางหนึ่งจะออกจากโครงสร้าง
จะทำซ้ำคือการวนรอบเป็นรอบ โดยทำกิจกรรมเดิมซ้ำ หรือเรียกง่ายการวน ลูบ (Loop) จะมีโครงสร้างหลายรูปแบบ
การตรวจสอบเงื่อนไขสิ้นสุดการวนซ้ำก่อน ถ้าหากการตรวจสอบยังไม่สิ้นสุดคือผลการตรวจสอบเป็นจริงก็จะทำกิจกรรมต่อ
บรรณานุกรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สานนท์ เจริญฉาย ,การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม, นิติธรรมการพิมพ์ , ๒๕๕o, หน้า ๕๑-๕๕ , ๖๔-๖๙
ประเภทผังงาน
มี 2 ระดับ
1. ผังงานระบบ
เป็นผังงานระดับกว้าง แสดงขั้นตอนการทำงานทั้งหมดของระบบ หมานถึงส่วนต่างๆ ที่เกียวข้องกับงาน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ จะแสดงขั้นตอนตั่งแต่เริ่มต้นว่าส่วนใดของระบบงาน และผ่านทางไหน มีกิจกรรมอะไรบ้างตัวอย่าง
2.ผังงานโปรแกรม
เป็นผังงานระดับละเอียด จะแสดงการทำงานแต่ละคำสั่ง ผู้เขียนมักจะละเลยไม่เขียนผังงานโปรแกรมเฉพาะระบบ เพื่อให้เกิดความคิดว่าขั้นตอนต่างๆของระบบมีอะไรบ้างและสัมพันธ์อย่างไร และถ้าเป็นโปรแกรมจะเขียนซับซ้อนมากๆ จะร่างผังงานโปรแกรมแค่เพียงย่อตัวอย่าง
สัญลักษณ์ ผังงาน
ผังงานแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. แบบทำตามลำดับ
เป็นอัลกอริทึมกิจกรรมจะเรียงตามลำดับการทำงานก่อนหลัง โดยยึด บนลงลาล่าง หรือจากซ้ายไปขวา หรือถ้าเป็นลูกศรก็คือตามเส้นลูกศรตามทิศทางของลูกศร
ตัวอย่าง
2. แบบเงื่อนไข แบ่งออกเป็น สอง ทางเลือก
2.1 ทางเดียว
จะมีทางออกเป็นทางเดียว อีกทางหนึ่งจะไม่มีกิจกรรม การทำงานจะออกจากโครงสร้างโดยตรงและผลตรวจสอบทางนี้
ตัวอย่าง
2.2 สองทางเลือก
จะมีทางออกเป็นทางออกทั้งสองทาง คือ ทั้งทางจริงและเท็จ การทำงานก็จะต้องกระทำกิจกรรมทางใดทางหนึ่งจะออกจากโครงสร้าง
ตัวอย่าง
3. แบบทำซ้ำ
จะทำซ้ำคือการวนรอบเป็นรอบ โดยทำกิจกรรมเดิมซ้ำ หรือเรียกง่ายการวน ลูบ (Loop) จะมีโครงสร้างหลายรูปแบบ3.1 โครงสร้างแบบ While
การตรวจสอบเงื่อนไขสิ้นสุดการวนซ้ำก่อน ถ้าหากการตรวจสอบยังไม่สิ้นสุดคือผลการตรวจสอบเป็นจริงก็จะทำกิจกรรมต่อ
ตัวอย่าง
3.2 โครงสร้าง DO/While
จะทำกิจกรรมครั้งแรก 1 ครั้งก่อนเสมอ แล้วจะตรวจสอบเงื่อนไขสิ้นสุดการวนซ้ำ ถ้าไม่มีที่สิ้นสุดก็จะกลับไปทำกิจกรรมเดิทซ้ำอีก
ตัวอย่าง
3.3 โครงสร้าง For
เป็นการวนซ้ำที่รู้จำนวนรอบแน่นอน โดยมีการกำหนดค่าเริ่มต้น ค่าสิ้นสุด
ตัวอย่าง
บรรณานุกรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สานนท์ เจริญฉาย ,การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม, นิติธรรมการพิมพ์ , ๒๕๕o, หน้า ๕๑-๕๕ , ๖๔-๖๙
วันจันทร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
รหัส Pseudocode
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ และภาษาทีเขียนโปรแกรมออกมาเสร็จ จะอธิบายโครงสร้างข้อมูลและลักษณะการทำงานทั้งหมด
รหัส Pseudo คือ
จะมีการทำงานคล้ายภาษาอังกฤษ ก้ำกึ่งระหว่างภาษาคอมพิวเตอร์ ใช้ในการอธิบายลักษณธโครงสร้างข้อมูล และการทำงานของอัลกอริธึมที่เราเขียน ทำให้ไม่ต้องเขียนอธิบาย Code ของภาษาคอมพิวเตอร์ มีความยือหยุ่นตามหลักไวยากรณ์ ของภาษาคอมพิวเตอร์แทบทุกภาษา ยังสามารถช่วยให้นักเขียนโปรแกรม และผู้ที่ไม่เคยเขียนโปรแกรมก่อนสามารถเข้าใจโครงสร้างข้อมูล และการทำงานของอัลกอริธึม
ตัวอย่างเช่น
การเขียน Pseudo ไม่มีเป็นกฏเกณฑ์ข้อบังคับหรือไวยากรณ์ ขึ้นอยู่กับเทคนิคการเขียนแต่ละบุคคลหรือการเข้าใจการทำงาน การหาพื้นที่ โดยแสดงผลออกทางหน้าจอ
Pseudocode
ตัวอย่างที่ 1
Start
1. Read Height , Base
2.Compute Area = 0.5 * Height * Base
3.Display Area
Stop
ตัวอย่างที่ 2
การตัดเกรดของนักเรียนโรงเรียนคุณธรรม คะแนน 90 ขึ้นไป ได้เกรด 'A' คะแนน70 ขึ้นไป ได้เกรด ฺ'B' คะแนน 60 ขึ้นไป ได้เกรด 'C' คะแนน 50 ขึ้นไป ได้เกรด 'D' คะแนนน้อยกว่า 49 ได้เกรด 'F'
Start
1.Scanf ( Score )
2. if (Score >= 90) Grades = 'A'
else if (Score >= 70) Grades = 'B'
else if (Score >= 60) Grades = 'C'
else if (Score >= 50) Grades = 'D'
else Grades = 'F'
3. Printf Grades
Stop
บรรณานุกรม
ขนิษฐา นามี,โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึม,บริทัษ ไอดีซี อินโฟ ดิสทริบิวเตอร์,2548,หน้าที่ ๒๒-๒๓
วันอาทิตย์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
โครงสร้างคอมพิวเตอร์
คือการรวามข้อมูลไว้ด้วยกัน เป็นกลุ่มๆ ประเภทข้อมูลจะมีการทำงานหรือความสัมพันธ์กลุ่มข้อมูลอย่างชัดเจดเป็นข้อมูลเดียวกันหรือต่างประเภทก็ได้ ความสัมพันธ์คื่อกลุ่มระเบียบข้อบังคับต่างๆไว้ จะผ๓กเข้าด้วยกันเป็นระบบ และยังสามารถสร้างข้อมูลนี้ขึ้นมาใหม่ได้ประกอบด้วยโครงสร้างข้อมูลอื่น เพื่องานร่วมโปรแกรมที่เราเขียนจะเรียนว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
อัลกอริธึม
หมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมใช้ในการแก้ไขปัญหา จะทำงานเป็นขั้นตอน สามารถแก้ไขปัญหาหรือประมวลผลตามต้องการได้ จะเรียนออกมาหลายรูปแบบ เช่น Flow Chart , รหัส Pseudo และภาษาคอมพิวเตอร์ สามารถเขียนได้หลายแบบ แต่ต้องดูความเหมาะและเลือกขั้นตอนการทำงานที่ถูกต้องมากที่สุด
โครงสร้างอัลกอริธึม
มี่ ๕ ขั้นตอน และในแต่ละขั้นตอนมีการทำงานที่แตกต่างกัน ยังมีของย่อย อีกมากมาย
เช่น
๑. ระบุสิ่งที่โจทย์ต้องการ
( ดูจากโจทย์ว่าต้องการอะไร )
๒.รูปแบบผลลัพธ์
( จะเป็นพวกตัวเลข เช่นการหาพื้นที่จะใช่ 99.99)
๓.ข้อมูลนำเข้า
( รับข้อมูลมาจากไหน )
๔.ประกาศค่าตัวแปล
( พวก Real , Integer ต้องดูจากโจทย์ แล้วเลือกว่าจะเป็น Real , Integer )
๕.ประมวลผล
๕.๑เริ่ม
๕.๒ ประกาศค่าตัวแปล
...............................(เอาข้อมูลที่ ๔ มาใส่)
๕.๓ Input
................................(เอาข้อมูลที่ ๓ มาใส่)
๕.๔ ประมวลผล
๕.๕ แสดงผลลัพธ์
๕.๖ จบการประมวลผล
การหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยม โดยรับค่าความยาวและความสูงของการใช้งานของผู้ใช้
สิ่งที่โจทย์ต้องการ
พื่นที่รูปสามเหลี่ยม
รูปแบบผลลัพธ์
ค่าความสูง => <รับค่า>
ค่าความยาว => <รับค่า>
พื้นที่สามเหลี่ยม => <แสดงค่า>
ข้อมูลนำเข้า
ความสูง , ความยาว
กำหนดตัวแปร
Height , Base , Area เป็น Real
วิธีการประมวลผล
เริ่ม
ประกาศตัวแปร
Height , Base , Area เป็น Real
Input
Area
ประมวลผล
Area = 0.5 *Height * Base
แสดงผลลัพธ์
Area
จบ
บรรณานุกรม
ขนิษฐา นามี,โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึม,บริทัษ ไอดีซี อินโฟ ดิสทริบิวเตอร์,2548,หน้าที่ 3,4,5,
อัลกอริธึม
หมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมใช้ในการแก้ไขปัญหา จะทำงานเป็นขั้นตอน สามารถแก้ไขปัญหาหรือประมวลผลตามต้องการได้ จะเรียนออกมาหลายรูปแบบ เช่น Flow Chart , รหัส Pseudo และภาษาคอมพิวเตอร์ สามารถเขียนได้หลายแบบ แต่ต้องดูความเหมาะและเลือกขั้นตอนการทำงานที่ถูกต้องมากที่สุด
โครงสร้างอัลกอริธึม
มี่ ๕ ขั้นตอน และในแต่ละขั้นตอนมีการทำงานที่แตกต่างกัน ยังมีของย่อย อีกมากมาย
เช่น
๑. ระบุสิ่งที่โจทย์ต้องการ
( ดูจากโจทย์ว่าต้องการอะไร )
๒.รูปแบบผลลัพธ์
( จะเป็นพวกตัวเลข เช่นการหาพื้นที่จะใช่ 99.99)
๓.ข้อมูลนำเข้า
( รับข้อมูลมาจากไหน )
๔.ประกาศค่าตัวแปล
( พวก Real , Integer ต้องดูจากโจทย์ แล้วเลือกว่าจะเป็น Real , Integer )
๕.ประมวลผล
๕.๑เริ่ม
๕.๒ ประกาศค่าตัวแปล
...............................(เอาข้อมูลที่ ๔ มาใส่)
๕.๓ Input
................................(เอาข้อมูลที่ ๓ มาใส่)
๕.๔ ประมวลผล
๕.๕ แสดงผลลัพธ์
๕.๖ จบการประมวลผล
ตัวอย่างเช่น
การหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยม โดยรับค่าความยาวและความสูงของการใช้งานของผู้ใช้
สิ่งที่โจทย์ต้องการ
พื่นที่รูปสามเหลี่ยม
รูปแบบผลลัพธ์
ค่าความสูง => <รับค่า>
ค่าความยาว => <รับค่า>
พื้นที่สามเหลี่ยม => <แสดงค่า>
ข้อมูลนำเข้า
ความสูง , ความยาว
กำหนดตัวแปร
Height , Base , Area เป็น Real
วิธีการประมวลผล
เริ่ม
ประกาศตัวแปร
Height , Base , Area เป็น Real
Input
Area
ประมวลผล
Area = 0.5 *Height * Base
แสดงผลลัพธ์
Area
จบ
บรรณานุกรม
ขนิษฐา นามี,โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึม,บริทัษ ไอดีซี อินโฟ ดิสทริบิวเตอร์,2548,หน้าที่ 3,4,5,
วันอังคารที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
ชนิดข้อมูลและตัวดำเนินการ
ชนิดของตัวแปรมี อยู่ 5 อย่าง มีการใช้ที่แตกต่างกัน
1. Integer ข้อมูลชนิดเลขจำนวนเต็ม
ส่วนใหญ่จะใช้กับ อายุ จำนวนคน ความเร็ว เราสามารถคำนวนหาผลลัพธ์ได้
ลองมาดูการเลือกใช้ Integer
1.ค่าตัวเลขจะไม่มีทศนิยม
2. เป็นเลขได้ทั้งบวกและลบ
3.ค่าบวก ไม่จำเป็นต้องใส่เครื่องหมายข้างหน้า
4. ไม่ใช้เครื่องหมาย , ( ลูกน้ำ )
ตัวอย่าง เช่น รับตัวเลข Nun มีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม Nun ต้องการประกาศชนิดใด
ตอบ Integer
2. Real ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม
ส่วนใหญ่จะใช้กับ ราคา เกรดเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย และคำนวนหาผลลัพธ์ได้แต่ผลลัพธ์เป็นเลขทศนิยม
ลองมาดูการเลือกใช้ Real
1. ค่าตัวเลขสามารถเป็นจุดทศนิยม
2. เป็นเลขได้ทั้งบวกและลบ
3.ค่าบวก ไม่จำเป็นต้องใส่เครื่องหมายข้างหน้า
ตัวอย่าง เช่น 457+8.5 ต้องการประกาศตัวแปรชนิดใด
ตอบ Real
3. Char ข้อมูลชนิดตัวอักษร
ส่วนใหญ่จะใช้กับ หาคำตอบ (Y/N) เพศ (M/F) เกรด (A,B,C,D,E,F)
ลองมาดูการเลือกใช้ Char
คือตัวอักษรมีค่ามากกว่า 1 ค่า สามารถประกอบด้วยข้อมูลเลข( 0-9 )ไม่สามารถนำมาคำนวนได้ A-Z a-z # @ $ % ^ & * + - / ! ^ เครื่องหมาย ' '
ตัวอย่าง เช่น Sex = ' ' ต้องการประกาศตัวแปรชนิดใด
ตอบ Char
4. String -ข้อมูลชนิดข้อความ
ส่วนใหญ่จะใช้กับ ข้อความที่มีมาให้เลือก
ลองมาดูการเลือกใช้ String
คือตัวอักษรหลายๆตัวต่อๆกัน อาจจะมีตัวเลขผสมอยู่ก็ได้ การที่จะประกาศตัวแปรใดๆ ให้เก็บข้อความสามารถทำได้โดยกำหนดเป็นประเภท Char แต่เป็นแบบมีหลายตัวอักษร โดยกำหนดความยาวของตัวอักษรไปด้วย ที่สำคัญจะมีเครื่องหมาย " "
ตัวอย่าง รับเพศของนักศึกษาเข้ามาทางคีย์บอร์ด ต้องการประกาศตัวแปรเพศชนิดใด
ตอบ String
5.dd/mm/yyy ข้อมูลชนิดวันที่
ส่วนใหญ่จะใช้กับ เป็นวันที่
ลองมาดูการเลือกใช้ dd/mm/yyy
ส่วนใหญ่จะไม่นิยมใช่กันแล้ว และถ้าจะใช้จะใช้ในข้อมูลที่มีวันที่
6.Object ข้อมูลชนิดรูปภาพ
ส่วนใหญ่จะใช้กับ เป็นรูปภาพ
ลองมาดูการเลือกใช้ dd/mm/yyy
ส่วนใหญ่จะไม่นิยมใช่กันแล้ว และถ้าจะใช้จะใช้ในข้อมูลชนิดรูปภาพ
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์มี 6 ตัว
ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ
การเขียนโปรมแกรมมีความจำเป็นต้องเอาวิชาคณิตคณิตศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องกับนิพจน์คณิตศาสตร์ สามารถคำนวนสูตรต่างๆได้มากหรือไม่ก็น้อย และมีลำดับขั้นตอนการคำนวนว่าอันไหนมาก่อนอันไหนมาหลัง จะมีตารางตัวดำเนินการ และลำดับการคำนวณ
บรรณานุกรม
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์,การเขียนโปรมแกรมด้วยภาษา C ,บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด (มหาชน) , ๒๕๕๒
หน้าที ๕๙,๖๑,๖๗,๖๘
วันพุธที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2557
อัลกอริทึม
อัลกอริทึม
อัลกอริทึม หมายถึง การแก้ไขปัญหาที่เราสามารถเข้าใจได้ และยังมีลำดับการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งอย่างมีลำดับหรือขั้นตอนการทำงานที่ต่างกันและจะมีการทำงานที่เป็นขั้นตอนที่ชัดเจน เพราะ ถ้าเราเอาข้อมูลเข้าอะไร แล้วจะได้ผลลัพธ์อย่างไร
วิธีการทำงานเป็นขั้นๆ และบางครั้งก็เป็นแบบวนซ้ำ บางครั้งเป็นแบบเปรียบเทียบ ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จจบการทำงาน
ขั้นตอนการพัฒนาลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา นับเป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง เพราะเป็นขั้นตอนที่นำวิธีการไปแก้ปัญหาที่ได้ทำการทดลองหาวิธีการแก้ไขปัญหาในส่วนของการทดลองด้วยตัวเอง ตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย ว่ามีลำดับการทำงานอย่างไรบ้่ง เพื่อที่จะนำไปสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำการแก้ไขปัญหาต่างๆ
เรามาดูสัญลักษณ์ ของอัลกอริทึม
สัญลักษณ์ ความหมายในการทำงาน ลำดับการทำงาน
+ บวก 4
- ลบ 4
* คูณ 3
/ หาร 3
** หรือ ^ ยกกำลัง 2
( ) วงเล็บ 1
หากมีวงเล็บจะให้ทำในวงเล็บก่อน และกรณีที่ลำดับความสำคัญเท่ากัน จะคำนวณจากด้านซ้ายไปขวา
ซูโด้โค้ต
กาารเขียน ซูโด้โค้ตหรือ รหัสเทียม
ซูโดโค้ต (Pseudocode)เป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม โดยใช้ถ้อยคำผสมระหว่างภาษาแังกฤษและภาษาการเขียนโปรแกรมแบบโคร้งสร้าง จะช่วยให้ผุ้เขียนโปรแกรมสามารถพัฒนาขั้นตอนต่างๆ ให้เป็นโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ส่วนใหย่มักใช้คำเฉพาะ (Reserve Word) ที่มีในภาษาการเขียนโปรแกรมและมักเขียนด้วยตัวอักษรตัวใหญ่ ซูโดโค้ดที่ดี่ จะต้องมีความชัดเจนสั้น และได้ใจความ ข้อมูลต่างๆ ที่ใช้จะถูกเขียนอยู่ในรูปของตัวแปร
จะมีการทำงานที่แตกต่างกัน เรามาลองดู
๑. รหัสเทียมแบบเรียงลำดับ
BEGIN
.................... ( ข้อมูลเรียงตามลำดับอันที่ หนึ่ง )
.................... ( ข้อมูลเรียงตามลำดับอันที่ สอง )
.................... ( ข้อมูลเรียงตามลำดับอันที่ สาม )
END
๒. รหัสเที่ยมแบบทางเลื่อก
BEGIN
IF ................ ( ข้อมูลแบบเงื่อนไขเอามาใส่จตามลำดับ )
END IF
๓. รหัสเที่ยมแบบหาค่าเฉลี่ย
BEGIN
1. Start
2. Count = 0
3. Sum = 0
4. Input (value)
1. Start
2. Count = 0
3. Sum = 0
4. Input (value)
5. IF value > 0 THEN
count = count + 1
sum = sum + value
Goto 3
ELSE Goto 5
6. average = sum / count
7. output (average)
END
การออกแบบผังงาน (Flowchart)
การออกแบบผังงาน (Flowchart)
การออกแบบผังงาน คือ การใช้สัญลักษณ์ รูปแบบต่างๆที่แตกต่างกัน มีการทำงานที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับโจทย์และยังมีลูกศรบอกทิศทางการทำงานว่าไปทางไหน แล้วต้องจบที่ไหน เรามาลองดูการทำงานของผังงาน
การทำงานแบบตามเงื่อนไข
การทำงานแบบตามเงื่อนไข (Selection) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การทำงานแบบตัดสินใจ (Decision) นั่นคือเราสามารถให้โปรแกรมเลือกทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งได้ โดยใช้เงื่อนไขเป็นตัวกำหนดการทำงานตามคำสั่ง โดยทั่วไปโปรแกรมจะกำหนดเอาไว้ว่าถ้าเงื่อนไขเป็นจริงโปรแกรมจะไปทำงานอย่างหนึ่ง แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จโปรแกรมก็จะไปทำงานอีกอย่างหนึ่งนั่นก็หมายความว่าโปรแกรมจะเลือกทำงานทิศทางใดทิศทางหนึ่งเท่านั้น เช่น เมื่อเราขับขี่รถไปถึงทางสามแยก เราจะต้องตัดสินใจไปทางใดทางหนึ่ง ไม่สามารถวิ่งไปทั้งสองทางได้ในเวลาเดียวกัน
การทำงานแบบทำซ้ำ
การทำงานแบบวนซ้ำ (Loop)เป็นการนำคำสั่งมาทำงานซ้ำหลายๆ รอบ จะทำงานกี่รอบขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดไว้ ซึ่งอาจจะเป็นการกำหนดจำนวนรอบที่แน่นอน คือไม่แน่ชัดว่าจะทำงานกี่รอบ
การทำงานแบบเรียงลำดับ
เป็นขั้นตอนวิธีการทำงานพื้นฐาน ขั้นตอนวิธีการทำงานแบบลำดับได้รับการพัฒนามาจากโครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับ การเขียนอธิบายการทำงานของวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้ผังงาน ทำให้สามารถเห็นลำดับขั้นตอนวิธีการทำงานของการแก้ปัญหาได้ชัดเจนกว่าการอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความโดยตรง แต่การนำผังงานมาพัฒนาให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์โดยตรง
สรุป การทำงานแบบผังงานจะมีการทำงานที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับโจทย์ว่าสิ่งที่โจทย์ต้องการคืออะไร แล้วเราก็เลือกการทำงานที่ถูกกับหลักการทำงานของมันเข้ามาช่วยในการเขียนโปรมแกรมคอมพิวเตอร์ได้
การแก้โจทย์
การแก้โจทย์
มี่ ๕ ขั้นตอน และในแต่ละขั้นตอนมีการทำงานที่แตกต่างกัน ยังมีของย่อย อีกมากมาย
เช่น
๑. ระบุสิ่งที่โจทย์ต้องการ
( ดูจากโจทย์ว่าต้องการอะไร )
๒.รูปแบบผลลัพธ์
( จะเป็นพวกตัวเลข เช่นการหาพื้นที่จะใช่ 99.99)
๓.ข้อมูลนำเข้า
( รับข้อมูลมาจากไหน )
๔.ประกาศค่าตัวแปล
( พวก Real , Integer ต้องดูจากโจทย์ แล้วเลือกว่าจะเป็น Real , Integer )
๕.ประมวลผล
๕.๑เริ่ม
๕.๒ ประกาศค่าตัวแปล
...............................(เอาข้อมูลที่ ๔ มาใส่)
๕.๓ Input
................................(เอาข้อมูลที่ ๓ มาใส่)
๕.๔ ประมวลผล
๕.๕ แสดงผลลัพธ์
๕.๖ จบการประมวลผล
สัญลักษณ์ (Flowchart)
สัญลักษณ์ (Flowchart)
ตัวอย่างที่ 1 สํญลักษณ์ พร้อม ตัวอย่าง
ตัวอย่างที่ 2 สัญลักษณ์ พร้อม ความหมาย
สัญลักษณ์ (Flowchart) จะมีรูปแบบที่แตกต่างกันและในแต่ละสัญลักษณ์ จะมีหน้าที่แตกต่างกัน จะช่วยในเรารู้ว่าถ้าเจอรูปแบบนี้จะเป็นในของเรื่องอะไร ส่วนใหญ่ สัญลักษณ์ (Flowchart) ใช้ในการเขียนโปรแกรมในคอมพิวเตอร์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)