วันอังคารที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ผังงาน

            หมายถึง การแก้ไขปัญหาตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึงจุดสิ้นสุด เป็นอัลกอริทึมที่สื่อความหมายกับมนุษย์  เป็นลำดับกิจกรรมแบบรูปธรรม ง่ายต่อการเข้าใจ เป็นรูปแบบความคิด


ประเภทผังงาน

มี 2 ระดับ

1. ผังงานระบบ

                        เป็นผังงานระดับกว้าง แสดงขั้นตอนการทำงานทั้งหมดของระบบ  หมานถึงส่วนต่างๆ ที่เกียวข้องกับงาน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ  จะแสดงขั้นตอนตั่งแต่เริ่มต้นว่าส่วนใดของระบบงาน  และผ่านทางไหน มีกิจกรรมอะไรบ้าง

ตัวอย่าง


2.ผังงานโปรแกรม

                    เป็นผังงานระดับละเอียด จะแสดงการทำงานแต่ละคำสั่ง  ผู้เขียนมักจะละเลยไม่เขียนผังงานโปรแกรมเฉพาะระบบ เพื่อให้เกิดความคิดว่าขั้นตอนต่างๆของระบบมีอะไรบ้างและสัมพันธ์อย่างไร และถ้าเป็นโปรแกรมจะเขียนซับซ้อนมากๆ จะร่างผังงานโปรแกรมแค่เพียงย่อ


     ตัวอย่าง



สัญลักษณ์  ผังงาน











ผังงานแบ่งออกเป็น  3  ประเภท


1.  แบบทำตามลำดับ  



           เป็นอัลกอริทึมกิจกรรมจะเรียงตามลำดับการทำงานก่อนหลัง  โดยยึด บนลงลาล่าง หรือจากซ้ายไปขวา หรือถ้าเป็นลูกศรก็คือตามเส้นลูกศรตามทิศทางของลูกศร

ตัวอย่าง




2. แบบเงื่อนไข แบ่งออกเป็น สอง ทางเลือก  


    2.1 ทางเดียว


             จะมีทางออกเป็นทางเดียว  อีกทางหนึ่งจะไม่มีกิจกรรม  การทำงานจะออกจากโครงสร้างโดยตรงและผลตรวจสอบทางนี้

     ตัวอย่าง

    2.2  สองทางเลือก  


            จะมีทางออกเป็นทางออกทั้งสองทาง  คือ  ทั้งทางจริงและเท็จ การทำงานก็จะต้องกระทำกิจกรรมทางใดทางหนึ่งจะออกจากโครงสร้าง

      ตัวอย่าง



3. แบบทำซ้ำ 

              จะทำซ้ำคือการวนรอบเป็นรอบ โดยทำกิจกรรมเดิมซ้ำ หรือเรียกง่ายการวน ลูบ (Loop) จะมีโครงสร้างหลายรูปแบบ


    3.1  โครงสร้างแบบ While   


               การตรวจสอบเงื่อนไขสิ้นสุดการวนซ้ำก่อน  ถ้าหากการตรวจสอบยังไม่สิ้นสุดคือผลการตรวจสอบเป็นจริงก็จะทำกิจกรรมต่อ

ตัวอย่าง



   3.2  โครงสร้าง  DO/While  


                   จะทำกิจกรรมครั้งแรก  1 ครั้งก่อนเสมอ แล้วจะตรวจสอบเงื่อนไขสิ้นสุดการวนซ้ำ ถ้าไม่มีที่สิ้นสุดก็จะกลับไปทำกิจกรรมเดิทซ้ำอีก


      ตัวอย่าง

     

     3.3 โครงสร้าง For 

                      เป็นการวนซ้ำที่รู้จำนวนรอบแน่นอน  โดยมีการกำหนดค่าเริ่มต้น ค่าสิ้นสุด 

ตัวอย่าง






บรรณานุกรม

   ผู้ช่วยศาสตราจารย์สานนท์  เจริญฉาย ,การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม, นิติธรรมการพิมพ์ , ๒๕๕o, หน้า ๕๑-๕๕ , ๖๔-๖๙

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น