วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2557



สาระการเรียนรู้วิชา  การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์


จัดทำโดย


นางสาว  อนงนาฏ  บุษษะ
รหัสนักศึกษา  ๕๖๔๔๓๕๑๒๔


สาขาวิชา   คอมพิวเตอร์ธุรกิจ   คณะ  วิทยาการจัดการ   มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรี



หน่วยการเรียนเป็นส่วนหนึ่งของวิชา
การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร๋
(อาจารย์  ตวงสิทธิ์  สนขำ)





วันอังคารที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ผังงาน

            หมายถึง การแก้ไขปัญหาตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึงจุดสิ้นสุด เป็นอัลกอริทึมที่สื่อความหมายกับมนุษย์  เป็นลำดับกิจกรรมแบบรูปธรรม ง่ายต่อการเข้าใจ เป็นรูปแบบความคิด


ประเภทผังงาน

มี 2 ระดับ

1. ผังงานระบบ

                        เป็นผังงานระดับกว้าง แสดงขั้นตอนการทำงานทั้งหมดของระบบ  หมานถึงส่วนต่างๆ ที่เกียวข้องกับงาน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ  จะแสดงขั้นตอนตั่งแต่เริ่มต้นว่าส่วนใดของระบบงาน  และผ่านทางไหน มีกิจกรรมอะไรบ้าง

ตัวอย่าง


2.ผังงานโปรแกรม

                    เป็นผังงานระดับละเอียด จะแสดงการทำงานแต่ละคำสั่ง  ผู้เขียนมักจะละเลยไม่เขียนผังงานโปรแกรมเฉพาะระบบ เพื่อให้เกิดความคิดว่าขั้นตอนต่างๆของระบบมีอะไรบ้างและสัมพันธ์อย่างไร และถ้าเป็นโปรแกรมจะเขียนซับซ้อนมากๆ จะร่างผังงานโปรแกรมแค่เพียงย่อ


     ตัวอย่าง



สัญลักษณ์  ผังงาน











ผังงานแบ่งออกเป็น  3  ประเภท


1.  แบบทำตามลำดับ  



           เป็นอัลกอริทึมกิจกรรมจะเรียงตามลำดับการทำงานก่อนหลัง  โดยยึด บนลงลาล่าง หรือจากซ้ายไปขวา หรือถ้าเป็นลูกศรก็คือตามเส้นลูกศรตามทิศทางของลูกศร

ตัวอย่าง




2. แบบเงื่อนไข แบ่งออกเป็น สอง ทางเลือก  


    2.1 ทางเดียว


             จะมีทางออกเป็นทางเดียว  อีกทางหนึ่งจะไม่มีกิจกรรม  การทำงานจะออกจากโครงสร้างโดยตรงและผลตรวจสอบทางนี้

     ตัวอย่าง

    2.2  สองทางเลือก  


            จะมีทางออกเป็นทางออกทั้งสองทาง  คือ  ทั้งทางจริงและเท็จ การทำงานก็จะต้องกระทำกิจกรรมทางใดทางหนึ่งจะออกจากโครงสร้าง

      ตัวอย่าง



3. แบบทำซ้ำ 

              จะทำซ้ำคือการวนรอบเป็นรอบ โดยทำกิจกรรมเดิมซ้ำ หรือเรียกง่ายการวน ลูบ (Loop) จะมีโครงสร้างหลายรูปแบบ


    3.1  โครงสร้างแบบ While   


               การตรวจสอบเงื่อนไขสิ้นสุดการวนซ้ำก่อน  ถ้าหากการตรวจสอบยังไม่สิ้นสุดคือผลการตรวจสอบเป็นจริงก็จะทำกิจกรรมต่อ

ตัวอย่าง



   3.2  โครงสร้าง  DO/While  


                   จะทำกิจกรรมครั้งแรก  1 ครั้งก่อนเสมอ แล้วจะตรวจสอบเงื่อนไขสิ้นสุดการวนซ้ำ ถ้าไม่มีที่สิ้นสุดก็จะกลับไปทำกิจกรรมเดิทซ้ำอีก


      ตัวอย่าง

     

     3.3 โครงสร้าง For 

                      เป็นการวนซ้ำที่รู้จำนวนรอบแน่นอน  โดยมีการกำหนดค่าเริ่มต้น ค่าสิ้นสุด 

ตัวอย่าง






บรรณานุกรม

   ผู้ช่วยศาสตราจารย์สานนท์  เจริญฉาย ,การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม, นิติธรรมการพิมพ์ , ๒๕๕o, หน้า ๕๑-๕๕ , ๖๔-๖๙

วันจันทร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

รหัส Pseudocode


 
   การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์  และภาษาทีเขียนโปรแกรมออกมาเสร็จ จะอธิบายโครงสร้างข้อมูลและลักษณะการทำงานทั้งหมด

รหัส  Pseudo คือ


    จะมีการทำงานคล้ายภาษาอังกฤษ ก้ำกึ่งระหว่างภาษาคอมพิวเตอร์ ใช้ในการอธิบายลักษณธโครงสร้างข้อมูล และการทำงานของอัลกอริธึมที่เราเขียน ทำให้ไม่ต้องเขียนอธิบาย Code ของภาษาคอมพิวเตอร์  มีความยือหยุ่นตามหลักไวยากรณ์ ของภาษาคอมพิวเตอร์แทบทุกภาษา  ยังสามารถช่วยให้นักเขียนโปรแกรม และผู้ที่ไม่เคยเขียนโปรแกรมก่อนสามารถเข้าใจโครงสร้างข้อมูล และการทำงานของอัลกอริธึม

ตัวอย่างเช่น   


     การเขียน  Pseudo  ไม่มีเป็นกฏเกณฑ์ข้อบังคับหรือไวยากรณ์ ขึ้นอยู่กับเทคนิคการเขียนแต่ละบุคคลหรือการเข้าใจการทำงาน การหาพื้นที่ โดยแสดงผลออกทางหน้าจอ

Pseudocode  


ตัวอย่างที่  1 


            การหาพื้นที่สามเหลี่ยม โดยแสดงผลออกทางหน้าจอ

 Start

     1. Read  Height , Base
     2.Compute Area  =  0.5 * Height * Base
     3.Display Area

Stop


ตัวอย่างที่  2


           การตัดเกรดของนักเรียนโรงเรียนคุณธรรม         คะแนน 90 ขึ้นไป  ได้เกรด 'A'                          คะแนน70 ขึ้นไป  ได้เกรด ฺ'B'        คะแนน 60 ขึ้นไป  ได้เกรด  'C'       คะแนน 50 ขึ้นไป  ได้เกรด 'D'  คะแนนน้อยกว่า 49  ได้เกรด 'F'

 Start

    1.Scanf   ( Score )
    2.  if (Score >= 90)  Grades  = 'A'
          else  if (Score >= 70)  Grades  = 'B'
             else   if (Score >= 60)  Grades  = 'C'
                else if (Score >= 50)  Grades  = 'D'
                   else   Grades  = 'F'
    3. Printf  Grades

Stop



บรรณานุกรม

ขนิษฐา นามี,โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึม,บริทัษ ไอดีซี อินโฟ ดิสทริบิวเตอร์,2548,หน้าที่ ๒๒-๒๓

วันอาทิตย์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

โครงสร้างคอมพิวเตอร์

       คือการรวามข้อมูลไว้ด้วยกัน เป็นกลุ่มๆ ประเภทข้อมูลจะมีการทำงานหรือความสัมพันธ์กลุ่มข้อมูลอย่างชัดเจดเป็นข้อมูลเดียวกันหรือต่างประเภทก็ได้  ความสัมพันธ์คื่อกลุ่มระเบียบข้อบังคับต่างๆไว้ จะผ๓กเข้าด้วยกันเป็นระบบ และยังสามารถสร้างข้อมูลนี้ขึ้นมาใหม่ได้ประกอบด้วยโครงสร้างข้อมูลอื่น เพื่องานร่วมโปรแกรมที่เราเขียนจะเรียนว่า  ภาษาคอมพิวเตอร์

อัลกอริธึม

     หมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมใช้ในการแก้ไขปัญหา จะทำงานเป็นขั้นตอน สามารถแก้ไขปัญหาหรือประมวลผลตามต้องการได้ จะเรียนออกมาหลายรูปแบบ เช่น  Flow Chart , รหัส Pseudo และภาษาคอมพิวเตอร์ สามารถเขียนได้หลายแบบ  แต่ต้องดูความเหมาะและเลือกขั้นตอนการทำงานที่ถูกต้องมากที่สุด

โครงสร้างอัลกอริธึม

        มี่ ๕  ขั้นตอน  และในแต่ละขั้นตอนมีการทำงานที่แตกต่างกัน ยังมีของย่อย อีกมากมาย
เช่น


๑. ระบุสิ่งที่โจทย์ต้องการ
        ( ดูจากโจทย์ว่าต้องการอะไร )


๒.รูปแบบผลลัพธ์
        ( จะเป็นพวกตัวเลข เช่นการหาพื้นที่จะใช่ 99.99)


๓.ข้อมูลนำเข้า
        ( รับข้อมูลมาจากไหน )


๔.ประกาศค่าตัวแปล
        ( พวก  Real ,  Integer ต้องดูจากโจทย์ แล้วเลือกว่าจะเป็น  Real ,  Integer  )


๕.ประมวลผล

 ๕.๑เริ่ม

     ๕.๒  ประกาศค่าตัวแปล
         ...............................(เอาข้อมูลที่  ๔  มาใส่)
     ๕.๓   Input
         ................................(เอาข้อมูลที่ ๓  มาใส่)
     ๕.๔   ประมวลผล
     ๕.๕   แสดงผลลัพธ์

๕.๖ จบการประมวลผล


ตัวอย่างเช่น


การหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยม  โดยรับค่าความยาวและความสูงของการใช้งานของผู้ใช้

     สิ่งที่โจทย์ต้องการ
                     
             พื่นที่รูปสามเหลี่ยม

     รูปแบบผลลัพธ์

           ค่าความสูง  => <รับค่า>
           ค่าความยาว => <รับค่า>
           พื้นที่สามเหลี่ยม => <แสดงค่า>

   ข้อมูลนำเข้า

          ความสูง , ความยาว

   กำหนดตัวแปร
          Height , Base , Area  เป็น Real

    วิธีการประมวลผล

     เริ่ม
           ประกาศตัวแปร
                   Height , Base , Area  เป็น Real
           Input
                   Area
           ประมวลผล
                   Area = 0.5 *Height * Base
            แสดงผลลัพธ์
                  Area
     จบ




บรรณานุกรม

ขนิษฐา นามี,โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึม,บริทัษ ไอดีซี อินโฟ ดิสทริบิวเตอร์,2548,หน้าที่ 3,4,5,

วันอังคารที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ชนิดข้อมูลและตัวดำเนินการ

ชนิดของตัวแปรมี อยู่  5 อย่าง  มีการใช้ที่แตกต่างกัน


1. Integer   ข้อมูลชนิดเลขจำนวนเต็ม


ส่วนใหญ่จะใช้กับ  อายุ  จำนวนคน  ความเร็ว  เราสามารถคำนวนหาผลลัพธ์ได้

ลองมาดูการเลือกใช้    Integer

1.ค่าตัวเลขจะไม่มีทศนิยม
2. เป็นเลขได้ทั้งบวกและลบ
3.ค่าบวก  ไม่จำเป็นต้องใส่เครื่องหมายข้างหน้า
4. ไม่ใช้เครื่องหมาย , ( ลูกน้ำ )

ตัวอย่าง  เช่น  รับตัวเลข Nun  มีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม   Nun ต้องการประกาศชนิดใด
ตอบ           Integer


2. Real  ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม


ส่วนใหญ่จะใช้กับ ราคา   เกรดเฉลี่ย  ค่าเฉลี่ย  และคำนวนหาผลลัพธ์ได้แต่ผลลัพธ์เป็นเลขทศนิยม

ลองมาดูการเลือกใช้  Real

1. ค่าตัวเลขสามารถเป็นจุดทศนิยม
2. เป็นเลขได้ทั้งบวกและลบ
3.ค่าบวก  ไม่จำเป็นต้องใส่เครื่องหมายข้างหน้า


ตัวอย่าง  เช่น   457+8.5    ต้องการประกาศตัวแปรชนิดใด
ตอบ         Real


3. Char  ข้อมูลชนิดตัวอักษร


ส่วนใหญ่จะใช้กับ หาคำตอบ (Y/N)  เพศ (M/F) เกรด (A,B,C,D,E,F)


ลองมาดูการเลือกใช้  Char

                คือตัวอักษรมีค่ามากกว่า 1 ค่า สามารถประกอบด้วยข้อมูลเลข( 0-9 )ไม่สามารถนำมาคำนวนได้  A-Z a-z # @ $ % ^ & * + - / ! ^ เครื่องหมาย '   '


ตัวอย่าง  เช่น Sex = '   '     ต้องการประกาศตัวแปรชนิดใด
ตอบ      Char

4. String -ข้อมูลชนิดข้อความ


ส่วนใหญ่จะใช้กับ  ข้อความที่มีมาให้เลือก

ลองมาดูการเลือกใช้  String

         คือตัวอักษรหลายๆตัวต่อๆกัน อาจจะมีตัวเลขผสมอยู่ก็ได้  การที่จะประกาศตัวแปรใดๆ ให้เก็บข้อความสามารถทำได้โดยกำหนดเป็นประเภท Char  แต่เป็นแบบมีหลายตัวอักษร โดยกำหนดความยาวของตัวอักษรไปด้วย ที่สำคัญจะมีเครื่องหมาย "    "

ตัวอย่าง  รับเพศของนักศึกษาเข้ามาทางคีย์บอร์ด ต้องการประกาศตัวแปรเพศชนิดใด
ตอบ    String


5.dd/mm/yyy  ข้อมูลชนิดวันที่

ส่วนใหญ่จะใช้กับ  เป็นวันที่


ลองมาดูการเลือกใช้   dd/mm/yyy


        ส่วนใหญ่จะไม่นิยมใช่กันแล้ว และถ้าจะใช้จะใช้ในข้อมูลที่มีวันที่


6.Object  ข้อมูลชนิดรูปภาพ

ส่วนใหญ่จะใช้กับ  เป็นรูปภาพ

ลองมาดูการเลือกใช้   dd/mm/yyy



         ส่วนใหญ่จะไม่นิยมใช่กันแล้ว และถ้าจะใช้จะใช้ในข้อมูลชนิดรูปภาพ





ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์มี  6   ตัว


ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ


การเขียนโปรมแกรมมีความจำเป็นต้องเอาวิชาคณิตคณิตศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องกับนิพจน์คณิตศาสตร์ สามารถคำนวนสูตรต่างๆได้มากหรือไม่ก็น้อย  และมีลำดับขั้นตอนการคำนวนว่าอันไหนมาก่อนอันไหนมาหลัง จะมีตารางตัวดำเนินการ และลำดับการคำนวณ




บรรณานุกรม

     โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์,การเขียนโปรมแกรมด้วยภาษา C ,บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด (มหาชน) , ๒๕๕๒
หน้าที  ๕๙,๖๑,๖๗,๖๘